ความเหมือนเเละความเเตกต่าง

ของสิทธิบัตร / อนุสิทธิบัตร / สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์

สิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร ออกเเบบผลิตภัณฑ์
(เหมือนกัน) ในแง่ของการคุ้มครองลักษณะองค์ประกอบ
โครงสร้างหรือกลไกของ ผลิตภัณฑ์ รวมทั้ง กรรมวิธี
ในการผลิตการรักษาหรือปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้ดีขึ้น

(ต่างกัน) ในแง่เงื่อนไขการพิจารณาสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
ซึ่งการประดิษฐ์ที่จะขอรับอนุสิทธิบัตร
ได้อาจจะเป็ฯการประดิษฐ์ที่มีการปรับปรุงเพียงเล็กน้อย
และมีประโยชน์ใช้สอยมากขึ้น
คุ้มครองรูปร่างหรือรูปทรง
ภายนอกของผลิตภัณฑ์รวมถึง
ลวดลายหรือสีของผลิตภัณฑ์
การออกแบบผลิตภัณฑ์
แตกต่างจากการประดิษฐ์
ตรงที่เป็นการคุ้มครองโครงสร้าง
ภายนอกของผลิตภัณฑ์
ส่วนการประดิษฐ์เป็นการคุ้มครอง
โครงสร้างภายในของผลิตภัณฑ์
ระบบตรวจ
(ตรวจสอบสาระสำคัญ
ก่อนการให้สิทธิบัตร)
รับจดทะเบียน
(ผู้มีส่วนได้เสียอาจยื่นตรวจสอบ
ภายใน 1 ปี หลังจากรับจดทะเบียน)
ระบบตรวจสอบ
อายุคุ้มครอง 20 ปี อายุคุ้มครอง 6 ปี
(ต่ออายุได้ 2 ครั้งละ 2 ปี รวม 10 ปี)
อายุคุ้มครอง 10 ปี
ค่าธรรมเนียม 140,000 บาท ค่าธรรมเนียม 17,000 บาท ค่าธรรมเนียม 7,500 บาท

ประเภทของคุ้มครองสิทธิบัตร / อนุสิทธิบัตร

/สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์

สิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร ออกเเบบผลิตภัณฑ์
สิ่งที่ “การประดิษฐ์” คุ้มครอง
- ผลิตภัณฑ์ (Products)
- กรรมวิธี (Processes)
- การทำให้ผลิตภัณฑ์หรือกรรมวิธีดีขึ้น
(Improvement of know products or processes )
ผู้ประดิษฐ์/ผู้ขอรับสิทธิบัตรสามารถที่จะเลือกขอรับความคุ้มครอง
สิทธิบัตรการประดิษฐ์หรืออนุสิทธิบัตรอย่างใดอย่างนึงแต่จะไม่สามารถ
ขอรับความคุ้มครองทั้งสองอย่างพร้อมกันไม่ได้
(ตามมาตรา 65 ตรี, มาตรา 77 เบญจ)
สิ่งที่ “การออกแบบผลิตภัณฑ์”
คุ้มครองรูปร่างหรือรูปทรง
- ภายนอกของผลิตภัณฑ์
(Shape or configuration)
- ลวดลายหรือสีของผลิตภัณฑ์ (Composition of lines or colors)
เงื่อนไขการให้สิทธิ
1.ประดิษฐ์ชิ้นใหม่
2.มีขั้นการประดิษฐ์สูงขึ้น
3.สามรถประยุกต์ใช้ทางอุตสาหกรรม
เงื่อนไขการให้สิทธิ
1.ประดิษฐ์ชิ้นใหม่
2.สามรถประยุกต์ใช้ทางอุตสาหกรรม
เงื่อนไขการให้สิทธิออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อ
อุตสาหกรรมรวมทั้งหัตถกรรม

เงื่อนไขในการขอรับ

สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์

ต้องเป็นการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่แตกต่างไปจากกเดิม ยังไม่เคยมีหรือใช้แพร่หลาย
หรือได้เปิดเผยภาพอันเป็นสาระสำคัญของการออกแบบผลิตภัณฑ์ในเอกสาร
หรือสิ่งพิมพ์ที่ได้เผยแพร่อยู่แล้วไม่ว่าในหรือนอกราชอาณาจักรก่อนวัน
ขอรับสิทธิบัตร และต้องเป็นการออกแบบใหม่ซึ่งสามารถผลิตได้
ในเชิงอุตสาหกรรม หรือหัตถกรรม

อ้างอิง:
- ความเหมือนและความแตกต่างของสิทธิบัตร-อนุสิทธิบัตร-สิทธิบัตรการออกแบบ. (2559). ค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2562 จาก https://bit.ly/2On3igZ